บรรยาย: รศ. สมรักษ์ รักษาทรัพย์
บทที่ 3 ทฤษฎีการกำหนดขึ้นของรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
(Income Determination Theory)
จุดประสงค์สำคัญของบทที่ 3 ถึงบทที่ 7 คือ
1. ต้องการอธิบายกระบวนการเกี่ยวกับการกำหนดขึ้นของรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
2. การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
3. ขนาดการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพว่าเปลี่ยนแปลงมากน้อยขึ้นกับเหตุปัจจัยใด?
ซึ่งตามหลักทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค รายได้ประชาชาติดุลยภาพนั้น สามารถกำหนดขึ้นมาได้จากวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
(1) Income – Expenditure Approach
(2) Withdrawal – Injection Approach
(3) Aggregate Demand – Aggregate Supply Approach
(4) General Equilibrium Approach
(1) Income – Expenditure Approach
Income หมายถึง National Income หรือรายได้ประชาชาติ
Expenditure หมายถึง Desired Aggregate Expenditure หรือความต้องการใช้จ่ายมวลรวม
ระดับที่มีดุลยภาพ คือ รายได้ประชาชาติ(Y) เท่ากับ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม(AE)
เขียนเป็นสมการรายได้ประชาชาติดุลยภาพได้ดังนี้
Y = Total Output (ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ)
AE = Desired Aggregate Expenditure (ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม)
C = Desired Consumption Expenditure (ความต้องการด้านค่าใช้จ่ายในครัวเรือน)
I = Desired Investment Expenditure (ความต้องการการด้านการลงทุนภาคเอกชนเบื้องต้น )
G = Desired Government Expenditure (ความต้องการด้านรายจ่ายรัฐบาล)
X = Desired Export of Goods and Service (ความต้องการด้านมูลค่าการส่งออก)
IM = Desired Import of Goods and Service (ความต้องการด้านมูลค่าการนำเข้า)
AE = C + I + G + X – IM ---------- ใช้ค่า Desired Value หรือ Planed Value
GDP = Ca + Ia + Ga + Xa – Ma -------- ใช้ค่า Actual Value
ระบบปิดไม่มีรัฐบาล AE = C + I
กรณีสมมติให้ระบบเศรษฐกิจเป็นระบบปิดไม่มีภาครัฐบาล ในกรณีเช่นนี้ก็จะได้ว่า
AE = C + I
Consumption Function
C = f (Yd, t, i, A, E, L…..) ----------------------(1)
C = Desired Consumption Expenditure
Yd = Disposable Income
t = Tax Rate
i = Interest Rate
A = Consumer’s Wealth
E = Expectation
L = Consumer’s Debt
S = Desired Saving
S = f (Yd, t, i, A, E, L…..) ----------------------(2)
C = f (Yd) ----------------------(3)
S = f(Yd) ----------------------(4)
dC > O ทั้งนี้โดย dC คือตัว MPC ซึ่งย่อมาจาก Marginal propensity to consume
dYd dYd
ซึ่งหมายถึง ตัวที่บอกให้รู้ ว่าเมื่อ Disposable Income ได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หนึ่งหน่วยแล้ว จะมีผลทำให้ความต้องการใช้จ่าย (Desired Consumption Expenditure) เพิ่มขึ้นเท่าไร
dS > O ทั้งนี้โดย dS คือตัว MPS ซึ่งย่อมาจาก Marginal propensity to Save
dYd dYd
ซึ่งหมายถึง ตัวที่บอกให้รู้ว่าเมื่อ Disposable Income ได้เพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วยแล้ว จะทำให้ความต้องการออม (Desired Saving) เพิ่มขึ้นเท่าไร
ความสัมพันธ์ของ MPC กับ MPS
MPC + MPS = 1 เสมอ ทั้งนี้ก็เพราะว่า
Yd = C + S และ
dYd = dC + dS หรือ
dYd dYd dYd
∆Yd = ∆C + ∆S หรือ
∆Yd ∆Yd ∆Yd
APC และ APS
C = APC ซึ่งย่อมาจาก Average propensity to consume
Yd
S = APS ซึ่งย่อมาจาก Average propensity to Save
Yd
APC + APS = 1 เสมอ
1 = APC + APS
ทำไม O < MPC < 1 และ
O < MPS < 1
AE = C + I
Consumption Function
C = f (Yd, t, i, A, E, L…..) ----------------------(1)
C = Desired Consumption Expenditure
Yd = Disposable Income
t = Tax Rate
i = Interest Rate
A = Consumer’s Wealth
E = Expectation
L = Consumer’s Debt
S = Desired Saving
S = f (Yd, t, i, A, E, L…..) ----------------------(2)
C = f (Yd) ----------------------(3)
S = f(Yd) ----------------------(4)
dC > O ทั้งนี้โดย dC คือตัว MPC ซึ่งย่อมาจาก Marginal propensity to consume
dYd dYd
ซึ่งหมายถึง ตัวที่บอกให้รู้ ว่าเมื่อ Disposable Income ได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หนึ่งหน่วยแล้ว จะมีผลทำให้ความต้องการใช้จ่าย (Desired Consumption Expenditure) เพิ่มขึ้นเท่าไร
dS > O ทั้งนี้โดย dS คือตัว MPS ซึ่งย่อมาจาก Marginal propensity to Save
dYd dYd
ซึ่งหมายถึง ตัวที่บอกให้รู้ว่าเมื่อ Disposable Income ได้เพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วยแล้ว จะทำให้ความต้องการออม (Desired Saving) เพิ่มขึ้นเท่าไร
ความสัมพันธ์ของ MPC กับ MPS
MPC + MPS = 1 เสมอ ทั้งนี้ก็เพราะว่า
Yd = C + S และ
dYd = dC + dS หรือ
dYd dYd dYd
∆Yd = ∆C + ∆S หรือ
∆Yd ∆Yd ∆Yd
APC และ APS
C = APC ซึ่งย่อมาจาก Average propensity to consume
Yd
S = APS ซึ่งย่อมาจาก Average propensity to Save
Yd
APC + APS = 1 เสมอ
1 = APC + APS
ทำไม O < MPC < 1 และ
O < MPS < 1
Quiz:
- ณ ระดับรายได้ประชาชาติ ณ จุด Break Even APC = 1 เพราะอะไร?
ณ ระดับรายได้ที่ C = Yd เรียกระดับรายได้นี้ว่า break even
- ณ ระดับรายได้ประชาชาติที่ต่ำกว่า Break Even APC > 1 and APS > 0 เพราะอะไร?
ณ ระดับรายได้ที่ต่ำกว่า break even แสดงว่า C > Yd ซึ่งหมายถึงการใช้จ่ายบริโภคจะมีค่ามากกว่ารายได้ ณ ภาวะนี้การออมจะติดลบ
- ณ ระดับรายได้ประชาชาติที่สูงกว่า Break Even O < APC < 1 and O < APS < 1
and APC + APS = 1 เพราะอะไร?
ณ ระดับรายได้ที่สูงกว่า break even แสดงว่า C < Yd ซึ่งในช่วงนี้เป็นต้นไป การออมจะเริ่มมีค่าเป็นบวก
Consumption function ของ J. M. Keynes ซึ่งมี Hypothesis ว่าความต้องการใช้จ่ายในการบริโภคเป็น Function เส้นตรงของ Disposable Income ดังสมการที่ (5)
C = Co + MPC Yd ------------------------(5)
เพราะฉนั้น S = Yd - Co - MPC. Yd ------------------------(6)
S = - Co + (1 - MPC) Yd
S = - Co + MPS Yd
ดังนั้น Saving function คือ S = - Co + MPS. Yd
ความต้องการใช้จ่ายในการลงทุน (Desired Investment Expenditure)
(1) รายจ่ายที่หน่วยธุรกิจต้องการใช้จ่ายเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่
(2) รายจ่ายที่หน่วยธุรกิจต้องการใช้จ่ายเพื่อก่อสร้างโรงงานใหม่
(3) การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงคลัง
I = f (i, Y, ¶, E, Cf , Te …..) ----------(7)
I = Desired Investment Expenditure
i = Interest rate
Y = National Income
¶ = Expected profit
E = Expectation
Cf = Confidence
Te = Change in Technology
ความหมายของคำว่า การใช้จ่ายที่ถูกชักนำหรือการใช้จ่ายแบบจูงใจ (Induced Expenditure) กับการใช้จ่ายแบบคงที่หรือการใช้จ่ายที่ไม่ถูกชักนำ (Autonomous Expenditure)I = Desired Investment Expenditure
i = Interest rate
Y = National Income
¶ = Expected profit
E = Expectation
Cf = Confidence
Te = Change in Technology
การกำหนดขึ้นของรายได้ประชาชาติจากวิธี Income – Expenditure Approach
Income – Expenditure Approach
Y = AE
โดย Y = National Income
AE = Desired Aggregate Expenditure
ซึ่งในกรณีระบบเศรษฐกิจปิด (Closed Economy) และไม่มีภาครัฐบาลพบว่า
AE = C + I โดย
C = Desired Consumption Expenditure
I = Desired Investment Expenditure
จากตารางที่ 3 เมื่อ AE = C + I โดย
C = 100 + 0.8Yd และ I = 250 ดังนั้น AE = 100 + 0.8Yd + 250 ซึ่งสรุปได้ว่าเท่ากับดังนี้
AE = 350 + 0.8Y (สมมติว่า Y = Yd)
ตัวอย่าง การคำนวณรายได้ประชาชาติดุลยภาพจากสมการคณิตศาสตร์ ซึ่งจากข้อมูลในตารางที่ 3 กำหนดให้
C = 100 + 0.8 Y และ S = - 100 + 0.2Y
I = 250
เนื่องจาก AE = C + I
ดังนั้น AE = 100 + 0.8 Y + 250
AE = 350 + 0.8 Y
การหาคำตอบตามวิธีที่หนึ่ง
รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะถูกกำหนด ณ จุดที่รายได้ประชาชาติ = AE
ดังนั้น Y = 350 + 0.8 Y
0.2 Y = 350
Y = 1,750 พันล้าน US$
เป็นระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การหาคำตอบตามวิธีที่สอง
การลงทุน = การออม (สมมติว่าเป็นระบบปิดไม่มีรัฐบาล)
250 = - 100 + 0.2 Y
0.2 Y = 350
Y = 1,750 พันล้าน US$
ซึ่งก็ได้ระดับรายได้ประชาชาติดุลย เช่นกัน
การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพ กรณีเน้นบทบาทของอุปสงค์รวม (Changes in National Income I : The Role of Aggregate Demand)
(1) Movements Along the Curves
(2) Shifts of the AE Curves
Y = AE
โดย Y = National Income
AE = Desired Aggregate Expenditure
ซึ่งในกรณีระบบเศรษฐกิจปิด (Closed Economy) และไม่มีภาครัฐบาลพบว่า
AE = C + I โดย
C = Desired Consumption Expenditure
I = Desired Investment Expenditure
ตารางที่ 3
The Aggregate Expenditure Function in a Closed
Economy with No Government (billions of dollars)
จากตารางที่ 3 เมื่อ AE = C + I โดย
C = 100 + 0.8Yd และ I = 250 ดังนั้น AE = 100 + 0.8Yd + 250 ซึ่งสรุปได้ว่าเท่ากับดังนี้
AE = 350 + 0.8Y (สมมติว่า Y = Yd)
ความโน้มเอียงในการใช้จ่าย (Marginal Propensity to Spend)
คำนวณมาจากสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของความต้องการใช้จ่ายในการบริโภคและการลงทุนต่อการเปลี่ยนแปลงของ Disposable Income ของครัวเรือน ซึ่งหมายความว่า ถ้า Yd เพิ่ม 1 และ I เพิ่มเท่าไร
Z = ∆AE ซึ่ง O < Z < I
∆Y
จุดดุลยภาพ I = S = 250
C = 100 + 0.8 Y และ S = - 100 + 0.2Y
I = 250
เนื่องจาก AE = C + I
ดังนั้น AE = 100 + 0.8 Y + 250
AE = 350 + 0.8 Y
การหาคำตอบตามวิธีที่หนึ่ง
รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะถูกกำหนด ณ จุดที่รายได้ประชาชาติ = AE
ดังนั้น Y = 350 + 0.8 Y
0.2 Y = 350
Y = 1,750 พันล้าน US$
เป็นระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การหาคำตอบตามวิธีที่สอง
การลงทุน = การออม (สมมติว่าเป็นระบบปิดไม่มีรัฐบาล)
250 = - 100 + 0.2 Y
0.2 Y = 350
Y = 1,750 พันล้าน US$
ซึ่งก็ได้ระดับรายได้ประชาชาติดุลย เช่นกัน
การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพ กรณีเน้นบทบาทของอุปสงค์รวม (Changes in National Income I : The Role of Aggregate Demand)
(1) Movements Along the Curves
(2) Shifts of the AE Curves
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น