อาจารย์ผู้บรรยาย รศ.พูนศักดิ์ แสงสันต์ ; 26 มกราคม 2557
คิดโดยใช้เครื่องคำนวณ Texas Instruments BA II Plus
6-1) ถ้าท่านฝากเงิน 40,000 บาท ไว้กับธนาคาร ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 6% ต่อปี เมื่อฝากครบ 10 ปี ท่านจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าไร
จากโจทย์: PV = -40,000 ; I/Y = 6% ; N = 10 ; FV = ?
กด
กด 40000 กด 6
กด 10
กด
CPT: FV = 71,633.91 บาท
6-2) ถ้าท่านฝากเงิน 50,000 บาท ไว้กับธนาคาร ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 8% ต่อปี เมื่อฝากครบ 6 ปี ท่านจะได้รับเงินทั้งสินเท่าไร
จากโจทย์ : PV = -50,0000 ; I/Y = 8% ; N = 6 ; FV = ?
กด
กด 50000 กด 8
กด 6
กด
CPT: FV = 79,343.72 บาท
6-3) ถ้าท่านฝากเงิน 60,000 บาท ไว้กับธนาคาร ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน เมื่อฝากครบ 4 ปี ท่านจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าไร
จากโจทย์: PV = -60,000 ; I/Y =10%/2= 5% (คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน) ; N = 4x2 = 8 (คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน) ; FV = ?
กด
กด 60000 กด 5
กด 8
กด
CPT: FV = 88,647.33 บาท
6-4) ถ้าท่านฝากเงิน 80,000 บาท ไว้กับธนาคาร ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน เมื่อฝากครบ 3 ปี ท่านจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าไร
จากโจทย์: PV = -80,000 ; I/Y = 10%/4 = 2.50% (คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน) ; N = 3x4 = 12 (คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน) ; FV = ?
กด
กด 80000 กด 2.50
กด 12
กด
CPT: FV = 107,591.11 บาท
6-5) ถ้าท่านจะได้รับเงิน 200,000 บาท ณ วันสิ้นปีที่ 10 โดยคิดอัตราส่วนลดเท่ากับ 10% เงินจำนวนนั้นจะมีมูลค่าในปัจจุบันเท่าไร
จากโจทย์: FV = 200,000 ; I/Y = 10% ; N = 10 ; PV = ?
กด
กด 200000 กด 10
กด 10
กด
CPT: PV = 77,108.66 บาท
6-6) ถ้าท่านจะได้รับเงิน 300,000 บาท ณ วันสิ้นปีที่ 5 โดยคิดอัตราส่วนลดเท่ากับ 8% เงินจำนวนนั้นจะมีมูลค่าในปัจจุบันเท่าไร
จากโจทย์: FV = 300,000 ; I/Y = 8% ; N = 5 ; PV = ?
กด
กด 300000 กด 8
กด 5
กด
CPT: PV = 204,174.96 บาท
6-7) ให้คำนวณหามูลค่าปัจจุบันของหลักทรัพย์ที่ท่านจะได้รับเงิน 800,000 บาท ณ วันสิ้นปีที่ 4 สมมุติว่าท่านได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์อื่นที่มีความเสี่ยงเช่นเดียวกันกับหลักทรัพย์นี้ในอัตรา 10%
จากโจทย์: FV = 800,000 ; N = 4 ; I/Y = 10% ; PV = ?
กด
กด 800000 กด 10
กด 4
กด
6-8) ถ้าท่านฝากเงินกับสถาบันการเงินในวันนี้ 70,000 บาท เป็นเวลา 10 ปี ท่านจะได้รับเงินจำนวน 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยที่ท่านได้รับเท่ากับร้อยละเท่าไร
จากโจทย์: PV = -70,000 ; N = 10 ; FV = 100,000 ; I/Y = ?
กด
กด 70000 กด 10
กด 100000
กด
6-9) ถ้าท่านลงทุนในวันนี้ 90,000 บาท เป็นเวลา 6 ปี ท่านจะได้รับเงินจำนวน 150,000 บาท อัตราผลตอบแทนที่ท่านคาดว่าจะได้รับเท่ากับร้อยละเท่าไร
จากโจทย์: PV = -90,000; N = 6; FV = 150,000; I/Y = ?
กด
กด 90000 กด 6
กด 150000
กด
6-10) ถ้าท่านฝากเงินกับสถาบันการเงินในวันนี้ 80,000 บาท โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้ท่านมีเงินฝากในบัญชีเป็นเงิน 140,000 บาท
จากโจทย์: PV = -80,000; I/Y = 10; FV = 140,000; N = ?
กด
กด 80000 กด 10
กด 140000
กด
6-11) ถ้าท่านฝากเงินกับสถาบันการเงินในวันนี้ 90,000 บาท โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้ท่านมีงเินฝากในบัญชีเป็นเงิน 200,000 บาท
จากโจทย์: PV = -90,000; I/Y = 10/2 = 5; FV = 200,000; N = ?
กด
กด 90000 กด 5
กด 200000
กด
ใช้เวลานาน 16.37/2 = 8.18 ปี
6-12) ถ้าท่านฝากเงินกับสถาบันการเงินในวันนี้ โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 12% ต่อปี จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้ท่านมีเงินฝากในบัญชีเป็นสามเท่าของเงินที่ท่านฝากไว้ในวันนี้จากโจทย์: สมมติว่า ฝากเงินไว้ 100 บาท จะเป็น 300 บาท ดังนั้น สมมุติว่าฝากเงินไว้ 100 บาท
PV = -100 ; I/Y = 12 ; FV = 300 ; N = ?
กด
กด 100
กด 12
กด 300
กด
6-13) ถ้่่าท่านฝากเงินกับสถาบันการเงินในวันนี้ โดยได้รับอัตราดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้ท่านมีเงินฝากในบัญชีเป็นสี่เท่าของเงินที่ท่านฝากไว้ในวันนี้
จากโจทย์: สมมุติว่า ฝากเงินไว้ 100 บาท จะเป็น 400 บาท ดังนั้น สมมุติว่าฝากเงินไว้ 100 บาท
PV = -100; I/Y = 10; FV = 400; N = ?
กด
กด 100
กด 10
กด 400
กด
6-14) นาย ประหยัด ฝากเงินกับธนาคารในวันนี้ โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 8% ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน จะใช้เวลานานเท่าไรที่จะทำให้นายประหยัด มีเงินฝากในบัญชีเป็นสามเท่าของเงินที่ฝากไว้ในวันนี้
จากโจทย์: สมมุติว่า ฝากเงินไว้ 100 บาท จะเป็น 300 บาท ดังนั้น สมมุติว่าฝากเงินไว้ 100 บาท
PV = -100; I/Y = 8/4 = 2; FV = 300; N = ?
กด
กด 100
กด 2
กด 300
กด
ใช้เวลานาน 55.48/4 = 13.87 ปี
6-15) นายอวยชัย ฝากเงินไว้กับธนาคารแห่งหนึ่งเป็นเงิน 60,000 บาท ทุกวันสิ้นปีเป็นเวลา 5 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 6% ต่อปี ณ วันสิ้นปีที่ 5 นายอวยชัย จะมีเงินในบัญชีเงินฝากเท่าไร
วิธีคิด ฝากเงิน 60,000บาท ทุกวันสิ้นปีเป็นเวลา 5 ปี
PMT (Payment) เป็นเงินที่รับหรือจ่ายในแต่ละงวด เท่าๆกันทุกงวด
กด
กด 60000
กด 6
กด 5
กด
CPT: FV = 338,225.58 บาท
6-16) นายเชิญพร ฝากเงินไว้กับธนาคารแห่งหนึ่งเป็นเงิน 90,000 บาท ทุกวันต้นปีเป็นเวลา 4 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 5% ต่อปี ณ วันสิ้นปีที่ 4 นายเชิญพร จะมีเงินในบัญชีเงินฝากเท่าไร
วิธีคิด ฝากเงิน 90,000บาท ทุกวันต้นปีเป็นเวลา 4 ปี
PMT (Payment) เป็นเงินที่รับหรือจ่ายในแต่ละงวด เท่าๆกันทุกงวด
ต้องเปลี่ยน MODE จาก END เป็น BGN ก่อน
กด
ที่หน้าจอจะปรากฎตัวอักษร BGN อยู่บนเลข 0.00
กด
กด 90000
กด 5
กด 4
กด
CPT: FV = 407,306.81 บาท
หลังใช้เสร็จให้ทำการ Clear เครื่องทันที
กด
6-17) ตราสารหนี้ฉบับหนึ่งมีราคาตลาดอยู่ที่ 6,000 บาท ผู้ลงทุนได้รับเงิน 2,200 บาท ทุกวันสินปี เป็นเวลา 3 ปี ให้คำนวณหาอัตราผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนคาดหวัง (Expected rate of return) จากการลงทุนในตราสารหนี้ ฉบับนี้
จากโจทย์: PV = -6,000; PMT = 2,200; N = 3; I/Y = ?
กด
กด 6000
กด 2200
กด 3
กด
CPT: I/Y = 4.92 %
6-18) ถ้านาย กนก มีบัญชีเงินฝากธนาคารเงิน 400,000 บาท และต้องการจะฝากเงิน 30,000 บาท เข้าบัญชีนี้ทุกวันสิ้นปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี จะต้องใช้เวลากี่ปี นาย กนก จึงจะมีเงินอยู่ในบัญชีนี้เท่ากับ 800,000 บาท
จากโจทย์: PV = -400,000; PMT = 30,000; I/Y = 10; FV = 800,000; N = ?
กด
กด 400000
กด 30000
กด 10
กด 800000
กด
CPT: N = 4.74 ปี
6-19) ถ้านายสมัย วางแผนที่จะเกษียณอายุการทำงานในอีก 8 ปี ขณะนี้นายสมัย มีเงินอยู่ 1,800,000 บาท และประสงค์จะเก็บออมเงินให้ได้เป็นจำนวน 3,000,000 บาท ตอนที่อายุครบเกษียณ ถามว่าอัตราผมตอบแทนที่ต้องการ จากการนำเงินจำนวน 1,800,000 บาท ไปหาประโยชน์เท่ากับเท่าไร
จากโจทย์: N = 8; PV = -1,800,000; FV = 3,000,000; I/Y =?
กด
กด 1800000
กด 3000000
กด 8
กด
CPT: I/Y= 6.59%
6-20) ให้คำนวนณหามูลค่าในอนาคต(Future Value) ของเงินที่จ่ายปีละ 80,000 บาท ทุกๆปี เป็นเวลา 8 ปี ถ้ากำหนดให้อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 10%
จากโจทย์: PMT = -80,000; N = 8; I/Y = 10; FV = ?
กด
กด 80000
กด 10
กด 8
กด
CPT: FV= 914,871.05 บาท
6-21) บริษัท SUN จำกัด ใช้เงินลงทุน 12 ล้านบาท ในการปลูกต้นไม้ เป็นเวลา 10 ปี ที่ต้นไม้ที่ปลูกไว้เติบโตจนถึงขั้นที่ตัดมาใช้งานได้ บริษัท สามารถขายที่ปลูกไว้ทั้งหมดไปในราคา 28 ล้านบาท ให้คำนวณอัตราผลตอบแทนที่บริษัทคาดหวังว่าจะได้รับจากการลงทุนในครั้งนี้ (Expected Rate of Return)
จากโจทย์: PV = -12,000,000; N = 10; FV = 28,000,000; I/Y = ?
กด
กด 12000000
กด 28000000
กด 10
กด
CPT: FV= 8.84%
6-22) บริษัทเงินทุนแห่งหนึ่งเสนอให้ท่านกู้ยืมเงิน 500,000 บาท โดยมีเงื่อนไขในการกู้ยืมเงินว่า ผู้กู้ต้องจ่ายชำระงิน 75,000 บาททุกปี เป็นเวลา 10 ปี ให้คำนวณหาอัตราดอกเบี้ยที่บริษัทคิดเอากับผู้กู้
จากโจทย์: PV = -500,000; PMT = 75,000; N =10; I/Y =?
กด
กด 500000
กด 75000
กด 10
กด
CPT: FV= 8.14%
6-23) ถ้าคิดอัตราส่วนลด (Discount Rate) เท่ากับ 8% ให้คำนวณหามูลค่าปัจจุบันของเงิน 50,000 บาท ที่กำหนดจ่ายทุกปีตลอดไป(Perpetuity) ถ้าอัตราดอกเบี้ยโดยทั่วไปสูงขึ้นจากเดิมอีกเท่าตัว ทำให้มีการคิดอัตราส่วนลดเพิ่มขึ้นเป็น 16% ให้คำนวณหามูลค่าปัจจุบันของเงิน 50,000 บาท
วิธีคิด กำหนดจ่ายทุกปีตลอดไป (Perpetuity) จะคล้ายกับ Annuity เพียงแต่ Perpetuity จะไม่มีกำหนดระยะเวลา (รับหรือจ่ายไปเรื่อยๆ) ซึ่งสามารถหา PV ได้จากสูตรว่า PV (Perpetuity) = Payment / Interest Rate = PMT / i
จากโจทย์: PMT = 50,000; I/Y = 8 ; PV = ? และ PMT = 50,000; I/Y = 16; PV = ?
PVi=8% = 50,000/0.08 = 625,000 บาท
PVi=16% = 50,000/0.16 = 312,500 บาท
6-24) สมมุติว่าบริษัทที่ท่านทำงานอยู่กำลังวางแผนที่จะกู้เงิน 1,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี ระยะเวลาที่กู้ 5 ปี ภายใต้เงื่อนไข Fully Amortized Term Loan ให้คำนวณหา ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
วิธีคิด การตัดเงินต้นและดอกเบี้ยของเงินงวด (Amortization)
เงินงวดที่ชำระหนี้รายเดือนจะประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ ดอกเบี้ยและเงินต้น ทั้งนี้การชำระเงินงวดแต่ละครั้ง ส่วนแรกจะตัดดอกเบี้ยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนก่อน ส่วนที่เหลือถึงจะตัดเงินต้น (Partial principal) ดังนั้น การชำระเงินงวดในแต่ละเดือนจะทำให้เงินต้นลดลงทุกครั้ง
จากโจทย์: คำนวณหา ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
ปีที่ 1 ขั้นที่ 1: คำนวณหาเงินที่ต้องผ่อนชำระรายปี
PV = 1,000,000 ; I/Y = 10 ; N = 5 ; PMT = ?
กด
กด 1000000
กด 10
กด 5
กด
CPT: PMT = 263,797.48 บาท
= 1,000,000 X 10%
= 100,000 บาท <== ดอกเบี้ย ณ สิ้นปีที่ 1
ปีที่ 1 ขั้นที่ 3: คำนวณหาจำนวนเงินที่ตัดยอดเงินต้น(หนี้)ได้
= 263,797.48 – 100,000
= 163,797.48 บาท <== เงินต้น ณ สิ้นปีที่ 1
ปีที่ 1 ขั้นที่ 4: คำนวณหายอดหนี้ที่ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
= 1,000,000 – 163,797.48
= 836,202.52 บาท
ยอดหนี้ที่ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1 = 836,202.52 บาท
6-25) [การบ้าน] สมมุติว่าท่านวางแผนที่จะกู้เงิน 800,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 8% ต่อปี ระยะเวลาที่กู้ 6 ปี ภายใต้เงื่อนไข Fully Amortized Term Loan ให้คำนวณหา ยอดหนี้ที่ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 2
จากโจทย์: คำนวณหา ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
ปีที่ 1 ขั้นที่1: คำนวณหาเงินที่ต้องผ่อนชำระรายปี ณ สิ้นปีที่ 1
PV = 800,000; I/Y = 8; N = 6; PMT = ?
กด
กด 800000
กด 8
กด 6
กด
CPT: PMT = 173,052.31 บาท
ปีที่ 1 ขั้นที่ 2: คำนวณหาดอกเบี้ยของปีที่ 1
= 800,000 X 8%
= 64,000 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่1: คำนวณหาเงินที่ต้องผ่อนชำระรายปี ณ สิ้นปีที่ 2
PV = 690,947.69; I/Y = 8; N = 5; PMT = ?
กด
กด 690947.69
กด 8
กด 5
กด
CPT: PMT = 173,052.31 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่ 2: คำนวณหาดอกเบี้ยของปีที่ 2
= 690,947.69 X 8%
= 55,275.82 บาท
จากโจทย์: คำนวณหา ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
ปีที่ 1 ขั้นที่1: คำนวณหาเงินที่ต้องผ่อนชำระรายปี ณ สิ้นปีที่ 1
PV = 800,000; I/Y = 8; N = 6; PMT = ?
กด
กด 800000
กด 8
กด 6
กด
CPT: PMT = 173,052.31 บาท
ปีที่ 1 ขั้นที่ 2: คำนวณหาดอกเบี้ยของปีที่ 1
= 800,000 X 8%
= 64,000 บาท
ปีที่ 1 ขั้นที่ 3: คำนวณหาจำนวนเงินที่ตัดยอดเงินต้น(หนี้)ได้
= 173,052.31 – 64,000
= 109,052.31 บาท
คำนวณหา ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 2
ปีที่ 1 ขั้นที่ 4: คำนวณหายอดหนี้ที่ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 1
= 800,000 – 109,052.31
= 690,947.69 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่1: คำนวณหาเงินที่ต้องผ่อนชำระรายปี ณ สิ้นปีที่ 2
PV = 690,947.69; I/Y = 8; N = 5; PMT = ?
กด
กด 690947.69
กด 8
กด 5
กด
CPT: PMT = 173,052.31 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่ 2: คำนวณหาดอกเบี้ยของปีที่ 2
= 690,947.69 X 8%
= 55,275.82 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่ 3: คำนวณหาจำนวนเงินที่ตัดยอดเงินต้น(หนี้)ได้
= 173,052.31 – 55,275.82
= 117,776.49 บาท
ปีที่ 2 ขั้นที่ 4: คำนวณหายอดหนี้ที่ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 2
= 690,947.69 – 117,776.49
= 573,171.20 บาท
ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 2 = 573,171.20 บาท
6-26) นายพรชัย เพิ่งเริ่มทำงาน เขามีความประสงค์ที่จะซื้อบ้าน จึงได้สะสมเงินออมเพื่อการนี้ นายพรชัย วางแผนที่จะออมเงิน 50,000 บาท ในปีแรก และจะออมเพิ่มขึ้น 40% ทุกปี สมมุติว่าอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 6% ต่อปี และการออมเงินเข้าบัญชีเงินฝาก กระทำในวันสิ้นปีของทุกปี นายพรชัย จะมีเงินในบัญชีเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่ 3
วิธีคิด ฝากเงิน 50,000บาท ทุกวันสิ้นปี และจะออมเพิ่มขึ้น 40% ทุกปี เป็นเวลา 3 ปี
ปีที่ 1: PV = -50,000 ; I/Y = 6 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 50000
กด 6
กด 2
กด
CPT: FV = 56,180 บาท
ปีืที่ 2: PV = -70,000 ; I/Y = 6 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 70000
กด 6
กด 1
กด
CPT: FV = 74,200 บาท
ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายพรชัย จะมีเงินในบัญชี = 98,000+56,180+74,200 = 228,380 บาท
6-27) นายถาวร ต้องการฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ณ วันต้นปีของทุกปีเป็นเงิน 40,000 บาท ในปีแรก และเขาจะฝากเงินเพิ่มขึ้นในอัตรา 50% ทุกๆปี กำหนดให้อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 8% ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายถาวร จะมีเงินฝากในบัญชีของเขาเท่าไร
วิธีคิด ฝากเงิน 40,000บาท ณ วันต้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 50% ทุกๆปี
ปีที่ 0: PV = -40,000 ; I/Y = 8 ; N = 3; FV = ?
กด
กด 40000
กด 8
กด 3
กด
CPT: FV = 56,388.48 บาท
ปีที่ 1: PV = -60,000 ; I/Y = 8 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 60000
กด 8
กด 2
กด
CPT: FV = 69,984.00 บาท
ปีที่ 2: PV = -90,000 ; I/Y = 8 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 90000
กด 8
กด 1
กด
CPT: FV = 97,200.00 บาท
ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายถาวร จะมีเงินฝากในบัญชี = 56,388.48+69,984+97,200 = 217,572.48 บาท
6-28) [การบ้าน] นายอุดม มีความประสงค์ที่จะออมเงิน โดยวางแผนที่จะออมเงิน 60,000 บาทในปีแรก และจะออมเพิ่มขึ้น 30% ทุกปี สมมุติว่าอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 10% ต่อปี และการออมเข้าบัญชีเงินฝากกระทำในวันต้นปีของทุกปี นายอุดม จะมีเงินในบัญชีเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่ 3 ถ้านายอุดมเริ่มฝากเงิน ณ วันสิ้นปีของทุกปี เขาจะมีเงินในบัญชีเงินฝากเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่3
วิธีคิด ฝากเงิน 60,000บาท ณ วันต้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 30% ทุกๆปี
ปีที่ 0: PV = -60,000 ; I/Y = 10 ; N = 3; FV = ?
กด
กด 60000
กด 10
กด 3
กด
CPT: FV = 79,860.00 บาท
ปีที่ 1: PV = -78,000 ; I/Y = 10 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 78000
กด 10
กด 2
กด
CPT: FV = 94,380.00 บาท
ปีที่ 2: PV = -101,400 ; I/Y = 10 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 101400
กด 10
กด 1
กด
CPT: FV = 111,540.00 บาท
ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายอุดมจะมีเงินฝากในบัญชี = 79,860+94,380+111,540 = 285,780.00 บาท
วิธีคิด ฝากเงิน 60,000บาท ณ วันสิ้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 30% ทุกๆปี
ปีที่ 1: PV = -60,000 ; I/Y = 10 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 60000
กด 10
กด 2
กด
CPT: FV = 72,600.00 บาท
ปีืที่ 2: PV = -78,000 ; I/Y = 10 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 78000
กด 10
กด 1
กด
CPT: FV = 75,800 บาท
ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายอุดม จะมีเงินในบัญชี = 72,600+75,800+101,400 = 259,800 บาท
6-29) ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 10% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 2 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 10
กด 2
กด
CPT: EFF = 10.25%
6-30) ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 10% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 4 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 10
กด 4
กด
CPT: EFF = 10.38%
6-31) [การบ้าน] ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 14% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 4 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 14
กด 4
กด
CPT: EFF = 14.75%
6-32) [การบ้าน] นายกิตติ ฝากเงิน 90,000 บาท ไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 12% โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นรายไตรมาส อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) ที่นายกิตติได้รับเท่ากับเท่าไร
กด
กด 12
กด 4
กด
CPT: EFF = 12.55%
6-33) นายศรชัยฝากเงิน 70,000 บาท ไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 8% โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นปีละ 2 ครั้งอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) ที่นายศรชัยได้รับเท่ากับเท่าไร และหากนายศรชัยฝากเงินจำนวนนี้ไว้้เป็นเวลา 5 ปี เขาจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าไร
กด
กด 8
กด 2
กด
CPT: EFF = 8.16%
จากโจทย์: PV = -70,000; I/Y = 8.16; N = 5; FV =?
กด
กด 70000
กด 8.16
กด 5
กด
CPT: FV = 103,617.10 บาท
ยอดหนี้ค้างชำระ ณ สิ้นปีที่ 2 = 573,171.20 บาท
6-26) นายพรชัย เพิ่งเริ่มทำงาน เขามีความประสงค์ที่จะซื้อบ้าน จึงได้สะสมเงินออมเพื่อการนี้ นายพรชัย วางแผนที่จะออมเงิน 50,000 บาท ในปีแรก และจะออมเพิ่มขึ้น 40% ทุกปี สมมุติว่าอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 6% ต่อปี และการออมเงินเข้าบัญชีเงินฝาก กระทำในวันสิ้นปีของทุกปี นายพรชัย จะมีเงินในบัญชีเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่ 3
วิธีคิด ฝากเงิน 50,000บาท ทุกวันสิ้นปี และจะออมเพิ่มขึ้น 40% ทุกปี เป็นเวลา 3 ปี
กด
กด 50000
กด 6
กด 2
กด
CPT: FV = 56,180 บาท
ปีืที่ 2: PV = -70,000 ; I/Y = 6 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 70000
กด 6
กด 1
กด
CPT: FV = 74,200 บาท
6-27) นายถาวร ต้องการฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ณ วันต้นปีของทุกปีเป็นเงิน 40,000 บาท ในปีแรก และเขาจะฝากเงินเพิ่มขึ้นในอัตรา 50% ทุกๆปี กำหนดให้อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 8% ณ วันสิ้นปีที่ 3 นายถาวร จะมีเงินฝากในบัญชีของเขาเท่าไร
วิธีคิด ฝากเงิน 40,000บาท ณ วันต้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 50% ทุกๆปี
กด
กด 40000
กด 8
กด 3
กด
CPT: FV = 56,388.48 บาท
ปีที่ 1: PV = -60,000 ; I/Y = 8 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 60000
กด 8
กด 2
กด
CPT: FV = 69,984.00 บาท
ปีที่ 2: PV = -90,000 ; I/Y = 8 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 90000
กด 8
กด 1
กด
CPT: FV = 97,200.00 บาท
6-28) [การบ้าน] นายอุดม มีความประสงค์ที่จะออมเงิน โดยวางแผนที่จะออมเงิน 60,000 บาทในปีแรก และจะออมเพิ่มขึ้น 30% ทุกปี สมมุติว่าอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 10% ต่อปี และการออมเข้าบัญชีเงินฝากกระทำในวันต้นปีของทุกปี นายอุดม จะมีเงินในบัญชีเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่ 3 ถ้านายอุดมเริ่มฝากเงิน ณ วันสิ้นปีของทุกปี เขาจะมีเงินในบัญชีเงินฝากเท่าไร ณ วันสิ้นปีที่3
วิธีคิด ฝากเงิน 60,000บาท ณ วันต้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 30% ทุกๆปี
กด
กด 60000
กด 10
กด 3
กด
CPT: FV = 79,860.00 บาท
ปีที่ 1: PV = -78,000 ; I/Y = 10 ; N = 2; FV = ?
กด
กด 78000
กด 10
กด 2
กด
CPT: FV = 94,380.00 บาท
ปีที่ 2: PV = -101,400 ; I/Y = 10 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 101400
กด 10
กด 1
กด
CPT: FV = 111,540.00 บาท
วิธีคิด ฝากเงิน 60,000บาท ณ วันสิ้นปีของทุกปี และจะฝากเพิ่มขึ้น 30% ทุกๆปี
กด
กด 60000
กด 10
กด 2
กด
CPT: FV = 72,600.00 บาท
ปีืที่ 2: PV = -78,000 ; I/Y = 10 ; N = 1; FV = ?
กด
กด 78000
กด 10
กด 1
กด
CPT: FV = 75,800 บาท
6-29) ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 10% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 2 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 10
กด 2
กด
CPT: EFF = 10.25%
6-30) ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 10% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 4 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 10
กด 4
กด
CPT: EFF = 10.38%
6-31) [การบ้าน] ถ้าอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา(inom) เท่ากับ 14% คิดดอกเบี้ยทบต้นปีละ 4 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) เท่ากับเท่าไร
กด
กด 14
กด 4
กด
CPT: EFF = 14.75%
6-32) [การบ้าน] นายกิตติ ฝากเงิน 90,000 บาท ไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 12% โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นรายไตรมาส อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) ที่นายกิตติได้รับเท่ากับเท่าไร
กด
กด 12
กด 4
กด
CPT: EFF = 12.55%
6-33) นายศรชัยฝากเงิน 70,000 บาท ไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 8% โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นปีละ 2 ครั้งอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง(Effective Rate: EFF%) ที่นายศรชัยได้รับเท่ากับเท่าไร และหากนายศรชัยฝากเงินจำนวนนี้ไว้้เป็นเวลา 5 ปี เขาจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าไร
กด
กด 8
กด 2
กด
CPT: EFF = 8.16%
จากโจทย์: PV = -70,000; I/Y = 8.16; N = 5; FV =?
กด
กด 70000
กด 8.16
กด 5
กด
CPT: FV = 103,617.10 บาท
นายศรชัยฝากเงินเป็นเวลา 5 ปี จะได้รับเงินทั้งสิ้น 103,617.10 บาท
6-34) [การบ้าน] นายมีโชค ฝากเงิน 120,000 บาท ไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นปีละ 4 ครั้ง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Effective Rate: EFF%) ที่นายมีโชค ได้รับเท่ากับเท่าไร และถ้าหากนายมีโชค ฝากเงินจำนวนนี้ไว้เป็นเวลา 3 ปี เขาจะได้รับเงินทั้งสินเท่าไร
เยี่ยมมากเลย ขอบคุณมากครับ
ตอบลบเยี่ยมมากเลย ขอบคุณมากครับ
ตอบลบ